เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมเข้าใจแนวคิดและหลักการที่สำคัญเกี่ยวกับการผลิตแบบโตโยต้า (TPS) เพราะเป็นระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้กระบวนการและส่งผลในการลดต้นทุน
หลักการและเหตุผล
การผลิตแบบโตโยต้า (Toyota Production System-TPS) เป็นแนวทางการจัดการระบบการทำงานที่มุ่งเน้นให้สินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพดีและต้นทุนการผลิตต่ำ โดยเน้นที่การขจัดความสูญเปล่า (Muda) ในกระบวนการให้หมดสิ้นไป โดยอาศัยหลักการสำคัญ 2 เสา หลัก คือ Just In Time (JIT) และ JIDOKA (Autonomation) ดังนั้นการผลิตแบบ TPS จึงเป็นระบบที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพให้กระบวนการและส่งผลในการลดต้นทุนทั่วทั้งองค์กรอย่างแท้จริง
วัตถุประสงค์
หัวข้อกิจกรรมและการบรรยายในหลักสูตร
- จากระบบการผลิตเชิงมวล สู่การกำเนิด TPS จนกลายมาเป็น Lean
- Muda และ 7 wastes
- แนวคิดและหลักการของ TPS : Toyota Production System House
- การจัดการด้วยการมองเห็น : Visual Management
- การทำงานที่เป็นมาตรฐาน Standardized Work
- การปรับเรียบการผลิต : Heijunka
- ระบบดัน (Push System) และระบบดึง (Pull-System)
- Kanban
- Takt Time, Cycle Time
- กระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง : Continuous Flow Process
- การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์อย่างรวดเร็ว : SMED
- ความแตกต่างระหว่าง Automation และ Autonomation
- การเตือนด้วยสัญญาณ : Andon
- การแก้ไขที่สาเหตุด้วย 5 Why & Why Why Analysis
- ระบบป้องกันความผิดพลาด : Poka Yoke
“Goals give us direction. They put a powerful force into play on a universal, conscious, and subconscious level. Goals give our life direction.”
หลักสูตรนี้เหมาะกับใคร
ระยะเวลาการอบรม
หลักสูตร 1 วัน
เวลา 09:00 น. – 16:00 น.
(พัก 3 ช่วงอาหารว่าง เช้า – บ่ายและอาหารกลางวัน 1 ชม.)
อาจารย์ผู้สอน
- วิทยากรบรรยายด้านสถิติและการบริหารคุณภาพ
- สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น (สสท)
- สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ - อาจารย์พิเศษวิชาการการควบคุมและประกันคุณภาพ
- ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - อาจารย์พิเศษวิชาการประกันคุณภาพ
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย